ประเพณีการสักพม่า

2019-05-30edit Ye Naung

p >Myanmar-Traditional-Tattooing-Custom

รูปที่ 1 : ผู้ชายพม่าโบราณกับลายสัก

การสักเคยเป็นประเพณีที่นิยมที่แพร่กระจายทั่วโลก ดังนั้น ที่นี่ ผมอยากเล่าให้ฟังเฉพาะประเพณีการสักพม่าเป็นพิเศษ แม้ว่าการสักเป็น ประเพณีที่เผยแพร่ไปทั่วโลก ทั่วประเทศ แต่เรายังไม่ทราบ ที่มาของกาสัก อย่างแน่นอน

ตามหลักฐานแรกไดพบศพที่มีลายสัก ซึ่งจมอยู่ใต้น้ำแข็งไซบีเรียเป็นครั้งแรก ในประเทศอียิป บันทึกไว้ว่า การสักเกิดขึ้นมา ตั้งแต่ 15 BC

ในสมัยใหม่ มีการบันทึกไว้ว่า พระมหากษัตริย์ องค์ที่ เจ็ด ชื่อ Edward ได้สักลายบนร่างกาย ตั้งแต่ สมัยที่เขายังเป็น เจ้าชายเวละ (Prince of Wale)  ในเอเซีย ชาวญี่ปุ่นชอบทำลอยสักที่เป็นรูปแบบทางศิลปะ ในศตวรรษที่ 19 แม้แต่ รัฐบาลญี่ปุ่นห้ามตามกฎหมาย แต่ประเพณีการสักก็ไม่ได้หายหัวไปจากระหว่างหนุ่มๆ

Myanmar-Traditional-Tattooing-Custom

รูปที่ 2 : รูปลอยสักแบบเดิมของพม่า

ที่ พม่ามีคำกล่าวว่า “การแต่งงาน การสร้างเจดีย์และ การสัก ภารกิจสามข้อนี้ ไม่สามารถแก้ไขได้ หลังจากเกิดขึ้นแล้ว  “ ในพม่า ประเพณีการสักมีมาตั้งแต่สมัยโบราณ และ นักวิจัยบางคน เชื่อกันว่า มันมีมา ตั้งแต่สมัยราชวงศ์พุกาม ในสมัย กงบ่าว ราชวงศ์พม่าองค์สุดท้าย  ใช้การสักเป็นรอย เพื่อ ระบุคน

Myanmar-Traditional-Tattooing-Custom

รูปที่ 3 : รูปลอยสักบางส่วนแบบเดิมของพม่า

ในสมัยก่อน พวกโจร ขโมย ที่ลงโทษประหารชีวิตไม่ได้ ก็ลงโทษด้วยวีธี ถูกสักลายบนหน้าผาก เขียนว่า “ คนโจร คนขโมย ให้เขาจำความผิดตลอดชีวิต นอกจากนั้น ผู้ประหารชีวิตในราชวงศ์ ก็สักลายหมึกเป็นรูปวงกลม ขนาดเหรียญ บนแก้ม และ เขียนสักลายบนหน้าอกว่า นักฆ่า ดังนั้น พวกอาชญากรก็ รู้สึก กลัวจนตัวสั่น ในขณะแค่มองเห็นพวกเขา

ในช่วงที่การสักเคยเป็นที่นิยม นอกจากผู้ชาย ส่วนผู้หญิงชอบสักลายรูปที่ชื่นชอบ ผู้หญิงพม่า สักลายเป็นความสวยความงาม ไม่ใช่เพิ่งมีมาตอนสมัยนี้ ตั้งแต่สมัยโบราณก็ มีการสักลายรูปนกหลายอย่าง บนทั้งขวา ซ้ายของต้นขาเพื่อเป็นความสวยความงาม

Myanmar-Traditional-Tattooing-Custom รูปที่ 4: บางส่วนของเมียนมาร์ภาพวาดรอยสักแบบดั้งเดิม

Myanmar-Traditional-Tattooing-Custom

รูปที่ 5 : คนทันสมัยกับลอยสักแบบทันสมัย

มีประเพณีลายสักซึ่งพื้นฐานมากจากทางศิลปะ แต่ก็ยังมีประเพณีการสักอย่างหนึ่ง ซึ่ง พื้นฐานมาจากความเชื่อ มีความเชื่อว่า จะได้พลังพิเศษจากการสักหมึก สาเหตุเบื้องหลังที่ทำให้ความเชื่อแบบนี้ เกิดขึ้น เพราะ คน A Ye Kye สมัยพุกาม ซึ่งเป็นคนนอกศาสนาและเชื่อถือพิธีการตาม ศาสนานิกายของพวกเขา

Myanmar-Traditional-Tattooing-Custom

รูปที่ 6 : ลายสักโบราณของพม่า

คนพวก A Ye Gyi เป็นทหารที่เก่ง กล้าหาญ และ มีความเชี่ยวชาญในการต่อสู้ พวกเขามีความเชี่ยวชาญในการต่อสู้ โดยการฝึกทุกวันเป็นประจำ แต่ชาวบ้านก็คิดไปเองว่า มันเป็นพลังพิเศษจากลายสัก ดังนั้น พวกชาวบ้านก็ นิยมสักลายเวทมนต์เหล่านั้น

Myanmar-Traditional-Tattooing-Custom

รูปที่ 7: หนุ่มๆพม่าที่มีลายสักเล่น ชี่นโล่น (กีฬาพม่าโบราณ)

ประเพณีการสักได้เปลี่ยนจากความสวยความงาม และความเชื่อถือ กลายเป็นวัฒนธรรมที่นิยม  ในสมัยนั้น ถ้าผู้ชายที่ไม่มีลายสัก ถือว่าไม่เป็นลูกผู้ชายแท้จริง

ประเพณีการสักในบทกวีคลาสสิคของพม่า

บทกวีคลาสสิคเป็นกวีที่กว้างขวาง ที่นี่ ไม่สามารถอธิบายรายละเอียดได้ แต่ผมอยากแนะนำบทกวีคลาสสิคพม่าของ นัทชินแนง ซึ่งเป็นผู้ที่รักกันดีว่าเป็นกษัตริย์แห่งยะตุ บทกวีที่ผมอยากจะพูดถึงคือ  บทกวีที่ นัทชินแนง แต่งสนุกสนานกับน้องชาย เมื่อเราพูดถึง นัทชินแนง คนส่วนใหญ่ก็ นิดว่าเป็น คนที่ อุดมคติและโรแมนติกมาก

แต่ อยากรู้จริงๆว่า “บทกวีเป็นตัวแทนของกวี ได้หรือ ไม่ บทกวี สามารถเปิดเผยความรู้สึกของ กวี ได้หรือไม่ “ คำถามเหล่านั้น มีอยู่ในวงวรรณ เพียงแค่เขียนบทกวีแห่งความรัก จะกลายเป็นคนโรแมนติกตลอด เป็นข้อที่น่าส่งสัยจริงๆ



Myanmar-Traditional-Tattooing-Custom

รูปที่ 8: โปสเตอร์ของราชวงศ์ต่าวงู (Taung Goo)

คนที่เผชิญหน้ากับข้อสมมติฐานที่น่าสงสัยก็คือ กวีนัทชินแนง ซึ่งเป็นกษัตริย์แห่งสงคราม อย่างไงก็ตาม บทกวีลึกซึ้งและ โรแมนติก ทำให้เขาดูเหมือนเป็น คนอ่อนแอ บอบบาง มันเป็น ข้อสมมติฐานที่แย่ที่สุดในการวิจารณ์ทางวรรณคดี โดยเฉพาะ นัทชินแนง

เขาต่อสู้เป็นทหารมาตั้งแต่เขายังเป็นเด็ก แต่งงานกับ Ya Za Da Tu Ka Hlar ถึงแม่ว่าไม่ได้ตกหลุมรักอย่างลึกซึ้ง เขามีนิสัยที่ไม่สะทกสะท้าน ดังนั้นเขาไม่อดทน อดใจ กับกษัตริย์อิงวะ ซึ่งเป็นพวกผู้รุกราน และ ตัดสินใจร่วมกัน Nga Zin Kar ซึ่งเป็นผู้ปกครองของเมือง Thanlyin มันพิสูจน์ได้ว่าทหารที่กล้าหาญในการต่อสู้ไม่ใช่ คนอ่อนแอ คนโรแมนติกตลอด

ในขณะที่เขาออกสงคราม มีเวลาว่างๆก็ เขียน Ya Tu เพื่อแก้เบื่อ แล้ว ให้ เพื่อนสนิท อ่านบทกวีที่เขาแต่ง ด้วยน้ำเสียงเป็น จังหวะ ถ้าอยู่ในพระราชวัง ก็เล่น KuLi (กีฬาพม่าโบราณ) กับน้องชายบ้าง เขียนบทกวีบ้าง นัทชินแนง เขารักน้องชายมากๆ

ทุกครั้งที่เล่นกับน้อง เขาก็ชนะทุกที เขาแกล้งน้อง โดยแต่ง บทกวี YaTu หนึ่งในนั้นก็คือ Kyae Sae YaTu (ชื่อบทกวี) ในบทกวีนั้น เขียนไว้ว่า ชายคนหนึ่งไม่ได้รับความชื่นชอบจากเจ้าหญิง เพราะ ไม่มีลอยสักบนทั้งต้นขา. มันเป็นหลักฐานที่ ชุมนุมทั้งหมดในสมัยนั้นเชื่อกันว่า ผู้ชายไม่มีความลูกผู้ชาย ถ้าไม่มีลอยสัก



Myanmar-Traditional-Tattooing-Custom

รูปที่ 9 : หนุ่มๆพม่าที่มีลายสักเล่น ชี่นโล่น (กีฬาพม่าโบราณ)

 

สักภรรยา

ในสมัยโบราณ นิสัยคนพม่า อาจจะดุร้าย แต่ก็มี จิตใจที่น่ารักและใจกว้าง อย่างซึ่งกันและกัน ตัวอย่างที่ผมอยากแนะนำคือ วัฒนธรรมซึ่งเกิดมาจากการสัก ในสมัยนั้น ผู้ชายทุกคนอยากสักลายหมึก เพื่อแสดงออกความเป็นลูกผู้ชาย แต่พ่อแม่ ไม่ยอม เพราะ กลัวโดนจับเป็น รัชกาลทหาร ดังนั้นพ่อแม่ขัดขวางที่จะให้ ลูกชายสักหมึก แต่ส่วนลูกชายก็ คิดอย่างอื่น

ในตอนเย็นๆ หนุ่มๆ เล่น ชื่นโล่น(กีฬาพม่าโบราณ) กัน และ แสดงตัวให้ สายๆที่กำลังตักน้ำ สาวๆก็ แกล้งหัวเราะเยาะผู้ชายที่ไม่มีลอยสัก ดังนั้น ผู่ชายก็ติดว่า เมื่อโตมาเป็นหนุ่ม ต้องมีลอยสัก เมื่อได้ยินข่าวว่า ช่างสักคนใดคนหนึ่ง มาถึงหมู่บ้าน หนุ่มๆ หลายคนก็ ตื่นเต้นที่จะได้สมหวังของตัวเอง แต่ใครบางคนที่ รู้สึก ประหม่าและกลัวที่จะ เผชิญหน้ากับความเจ็บปวดของการสัก ก็ไปประจบประแจงกับช่างสัก ด้วยใบชา หมาก เพื่อไม่ให้สักแรงๆ นอกจากนี้ ยังมี วงดนตรี มาพร้อมกับ ช่างสัก จริง ต้องไปประจบ นักดนตรีนิดหนึ่ง เพราะ หากนักดนตรี บรรเลงอย่างรุนแรง ช่างสักก็ สักแรงๆ จะได้เข้ากับกับจังหวะดนตรี ไม่จำเป็นต้องเล่าให้ฟังว่า หนุ่มๆ จะเจ็บขนาดไหน

อย่างที่ทุกคนทราบกันว่า การสักโบราณของพม่า  สักเริ่มจากต้นขาไปถึงรอบเอว ดังนั้น คนที่สักหมึกใส่โสร่งไม่ได้ ดังนั้น หนุ่มๆ ร่วมกันจักเทศกาล การสัก พร้อมกันที่ชานเมืองของหมู่บ้าน ห้ามสาวๆเข้ามาดู เทศกาลการสักนี้

แต่จิตใจมนุษย์ช่างประเสริฐ และ ลึกซึ้งเหลือเกินนะ แม้ว่าไม่อนุญาตให้สาวๆไปดู แต่ก็อยากรู้ว่า การสักของ หนุ่มๆ จะเป็นอย่างบ้าง โปรดอย่าเข้าใจผิดกันค่ะ หนุ่มๆ คนนั้น อาจจะเป็น สามีอนาคตของสาวๆก็ได้  เนื่องจากการเดินทางไม่สะดวก ดูเหมือนว่า ผู้หญิงจะแต่งวานกับ ผู้ชายที่อยู่หมู่บ้านเดียวกันก็ได้

นั่นก็คือเหตุผลที่สาวๆเต็มใจที่อยากรู้ เรื่องเทศกาลการสักนี่ ว่าหนุ่มคนไหน ตะโกน ขณะที่กำลังสัก ใครทนความเจ็บปวดไม่ได้ ดังนั้นพวกสาวๆส่งเด็กชายจาหมู่บ้าน ไปสำรวจว่าสถานการณ์จะเป็นอย่างไงบ้าง และ มาเล่าให้ สาวๆฟัง

หลังจากภารกิจการสักของหนุ่มๆ เสร็จแล้วก็ ต้องออกมาจากสทานที่ชั่วคราว ซึ่งสร้างด้วยผ้าสีขาวและไม้ใผ่ เมื่อออกมาจากสทานที่ หนุ่มๆไม่ต้องการอะไรนอกจากโสร่ง แต่เฉพาะญาติพี่น้องเท่านั้น สามารถมอบ โสร่งได้ ให้เขาใส่

ส่วนใหญ่จะเป็นญาติพี่น้องมอบให้ แต่บางครั้งอาจจะไม่ใช่ ผู้หญิงในครอบครัวก็ได้ ซึ่งทำให้เข้าใจผิดสถานการณ์ทางวัฒนธรรม ในสมัยโบราณ ผู้หญิงซึ่งไม่ใช่ พี่น้องกันมอบ โสร่งให้กับผู้ชายที่สักเสร็จ เรียกว่า สักภรรยา เพราะมอบโสร่งแบบนี้ เรียกได้ว่าเป็นคู่รักกัน

ชุมนุมสมมติว่าเขาสองคน กำลังจะแต่งงานกัน ในเร็วๆนร้ เพราะ ผู้หญิงมอบโสร่งให้กับ ผู้ชายที่สักเสร็จ นอกจากนี้ ยังมีข้อประหลาดว่า ถ้าคู่นั้นไม่ได้แต่งงานกัน คู่สมรสของแต่ละคนไม่สามารถกล่าวหาได้ แม้ว่าเขาเจอกัน

สมัยนี้ ถ้าผู้ชายทำอะไรได้สำเร็จก็พูดกันว่า “ มึง ฉลาดมาก “ ในพม่า ว่า “ Min Kwar ........Min Thae Lite Tar” คำพูดเหล่านั้น เกินมากจาก วัฒนธรรมการสักพม่า และ ผมอยากสรุป ประเพณีการสักพม่าโบราณ เท่านี้ก่อนครับ

คุณชอบเนื้อหานี้หรือไม่?
หากคุณมีบัญชีของผู้ใช้ที่ทำให้เป็นปลาแมกเคอเรลคุณสามารถเพิ่มบุ๊กมาร์กลงใน mypage ของคุณได้

รีวิว


ประเพณีการสักพม่า
0 / 5 (0 รีวิวจากผู้ใช้)
สิ่งที่คนพูด

แสดงความคิดเห็นจาก

สมาชิกเข้าสู่ระบบและปล่อยให้คะแนนของคุณ

หากต้องการแสดงความคิดเห็นโปรดเข้าสู่ระบบหรือลงทะเบียนสมาชิก

คุณมีบัญชีของผู้ใช้ MingalaGo หรือไม่?

personLogin

รับบัญชีของผู้ใช้ MingalaGo!

personลง ทะเบียน